operation manual

95
ขอควรระวัง
โทรศพทมือถอเซลลูลารของคณก็คือ ตัวสงและรับ
สัญญาณวทยุกําลงตํ่านั่นเอง ในขณะที่ทํางาน
โทรศพทจะรบและสงคลื่นวทย คลื่นวทยจะนาพา
สัญญาณเสยงหรอขอมลไปยงสถานฐานที่เชื่อมตอ
กับเครอขายโทรศพท จากนั้นเครอขายจะทาหนาที่ควบคุม
กําลงสงของโทรศพท
โทรศพทของคณสง/รับสญญาญวทย ในความถี่ GSM
(900/1800MHz)
เครอขาย GSM จะควบคมกาลงการสง (0.01 ถึง 2
วัตต)
โทรศพทของคณมความสอดคลองกบมาตรฐานดานความ
ปลอดภยที่เกี่ยวของทั้งหมด
เครื่องหมาย CE บนโทรศพท แสดงถงความสอดคลอง
กับความเขากนไดทางแมเหลกไฟฟาแหงสหภาพยโรป
(Ref. 89/336/EEC) และขอกาหนดแรงดนไฟฟาตํ่า
(Ref. 73/23/EEC)
คุณมหนาที่รับผดชอบโทรศพทมือถอเซลลูลาร ของคุณ เพื่อ
ที่จะหลกเลี่ยงความเสยหายตอตวเอง ผูอื่น หรอตอตวโทร-
ศัพทเอง ใหอานและทาตามคาแนะนาเกี่ยวกบความปลอดภัย
ทั้งหมด และบอกใหผูอื่นที่ยืมโทรศพทของคณไปใชทราบดวย
ในการปองกนโทรศพทจากการใชงานโดยไมไดรับอนญาต:
เกบโทรศพทไวในที่ปลอดภัย และเกบใหพนจาก
การเอื้อมถงของเดกเล็ก
หลกเลี่ยงการจดรหัส PIN ลงบนกระดาษ ใหใช
วิธีจําแทน
ปดโทรศพทและถอดแบตเตอรี่ออก ถาคณจะไมใชโทรศพท
เปนระยะเวลานาน
ใชเมน การปองกัน เพื่อเปลี่ยนแปลงรหัส PIN หลงจากที่ซื้อ
โทรศพทมา และเพื่อเปดการทางานของตวเลอกการจากัด
การโทรแบบตางๆ
การออกแบบโทรศพทของคณนั้น สอดคลองกับ
กฎหมายและขอบงคบตางๆ ทั้งหมดที่มี อยางไร
ก็ตาม โทรศพทของคณอาจเปนสาเหตใหเกดการ
รบกวนกบอปกรณอิเลกทรอนกสอื่น ดังนั้นคณควร
ทําตาม ขอแนะนาและกฎขอบงคบทั้งหมดในประเทศของ
คุณ เมื่อใชโทรศพทเซลลูลารทั้งที่บาน และเมื่อเดนทางไปยัง
สถานที่อื่น กฏขอบงคบเกี่ยวกบการใชโทรศพทเซลลูลารใน
รถยนตและเครื่องบนนั้นมความเขมงวดมาก
เปนที่กลาวกนวาบางครั้งการใชโทรศพทเซลลูลารอาจมความ
เสี่ยงตอสขภาพของผูใช มีการนาผลการวิจัยในปจจุบันเกี่ยว
กับเทคโนโลยทางดานคลื่นวทยและ GSM มาทบทวนมาตร-
ฐานดานความปลอดภยตางๆไดรับการกาหนดขึ้น เพื่อปอง
กันอนตรายจากการสมผสถกพลงงานคลื่นวทย โทรศพท
คลื่นวทย
Philips636_APMEA_CTA_GB.book Page 95 Wednesday, May 19, 2004 6:14 PM